ท่องเที่ยวทั่วไทย
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
หน้าเเรก
ท่องเที่ยวไทยย
ลักษณะภูมิศาสตร์แยกตามภาค
ภาคเหนือ เป็นพื้นที่สูง มียอดเขาสูงสลับซับซ้อนมากมาย มีเทือกเขาสำคัญคือเทือกเขาถนนธงชัย ซึ่งยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือดอยอินทนนท์ (สูง 2,565 เมตรจากระดับน้ำทะเล) อยู่บนเทือกเขานี้ โดยตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเหนือยังเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญหลายสาย เช่น แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน (แม่น้ำทั้ง 4 สายนี้รวมกันเกิดเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา) แม่น้ำกก แม่น้ำรวก แม่น้ำสาย และแม่น้ำเมย เป็นต้น นอกจากนี้ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่ป่าไม้ที่สำคัญของไทยด้วย
ภาคเหนือ เป็นพื้นที่สูง มียอดเขาสูงสลับซับซ้อนมากมาย มีเทือกเขาสำคัญคือเทือกเขาถนนธงชัย ซึ่งยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือดอยอินทนนท์ (สูง 2,565 เมตรจากระดับน้ำทะเล) อยู่บนเทือกเขานี้ โดยตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเหนือยังเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญหลายสาย เช่น แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน (แม่น้ำทั้ง 4 สายนี้รวมกันเกิดเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา) แม่น้ำกก แม่น้ำรวก แม่น้ำสาย และแม่น้ำเมย เป็นต้น นอกจากนี้ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่ป่าไม้ที่สำคัญของไทยด้วย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือที่คนไทยนิยมเรียกสั้นๆว่าภาคอีสาน มีลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่สูงหรือที่ราบสูง เรียกว่าที่ราบสูงโคราช มีภูเขาสูงอยู่ทั่วไป ภาคอีสานเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งที่สุดของไทย ดินไม่ค่อยเหมาะสมต่อการเพาะปลูกมากนัก แต่กลับเป็นพื้นที่สามารถปลูกข้าวพันธุ์ดีที่สุดของไทย (ข้าวหอมมะลิ) ได้ผลผลิตดีที่สุด แม่น้ำสายสำคัญของภาคอีสานคือแม่น้ำมูล แม่น้ำชี และแม่น้ำโขง
ภาคกลาง เป็นที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ เรียกว่าพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญที่สุดของประเทศ และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของโลก นอกจากแม่น้ำเจ้าพระยาแล้วยังมีแม่น้ำป่าสัก (หรือแม่น้ำท่าจีน) เป็นแม่น้ำสายรองอีกด้วย ทำให้ภาคกลางมักไม่ประสบภาวะน้ำแล้ง
ภาคใต้ มีพื้นที่เป็นทิวเขาสูงสลับที่ราบลุ่มและชายหาดทะเล เป็นแหล่งปลูกยางพาราที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย นอกจากนี้ยังเต็มไปด้วยหมู่เกาะที่สวยงามทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน นอกจากอาชีพปลูกยางพาราและอาชีพบริการด้านการท่องเที่ยวแล้ว ประชากรในภาคใต้ยังประกอบอาชีพประมงและเหมืองแร่ด้วย
ภาคตะวันออก พื้นที่ของภาคตะวันออกเป็นพื้นที่ลักษณะผสมผสาน กล่าวคือทางฝั่งตะวันออกของภาคเป็นเทือกเขาสูง ซึ่งเป็นเส้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ตอนกลางของภาคเป็นที่ราบซึ่งเหมาะสมต่อการเพาะปลูก ผลผลิตหลักของพื้นที่ส่วนนี้คือผลไม้ เช่น ทุเรียน เงาะ มังคุดและมะม่วง เป็นต้น ส่วนทางฝั่งตะวันตกเป็นพื้นที่ชายทะเลที่สวยงามและได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั่วโลก เช่น พัทยา บางแสน สัตหีบ หาดแม่รำพึง หาดบ้านเพ และแหลมแม่พิมพ์เป็นต้น
ภาคตะวันตก พื้นที่ของภาคตะวันตกจะมีพื้นที่ 3 ลักษณะผสมกันกล่าวคือ ด้านตะวันตกที่ติดกับประเทศพม่าจะเป็นทิวเขาสูงสลับซับซ้อน เป็นป่าไม้ที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นทั้งป่าต้นน้ำและแหล่งอุทยานแห่งชาติขนาดใหญ่ เช่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตอนกลางของภาคเป็นที่ราบลุ่มสามารถเพาะปลูกได้ผลดี ส่วนด้านตะวันออกเป็นส่วนที่ติดกับทะเล จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญและมีชื่อเสียง เช่น หัวหินและชะอำ เป็นต้น นอกจากนี้ประชากรทางฝั่งตะวันออกบางส่วนยังประกอบอาชีพประมงด้วย
ลักษณะภูมิอากาศ
ประเทศไทยมีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ซึ่งหมายถึงมีอากาศร้อนและมีความชื้นสูง แบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือฤดูหนาว ฤดูฝน และฤดูร้อน โดยที่ฤดูหนาวเริ่มตั้งเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนถึงเดือนพฤษภาคม และฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม ยกเว้นทางภาคใต้จะมีเพียงแค่ 2 ฤดูเท่านั้นคือฤดูร้อนและฤดูฝน (ฤดูหนาวของภาคอื่นจะกลายเป็นฤดูฝนเพิ่มเติมให้ภาคใต้นอกเหนือไปจากฤดูฝนตามปกติ)
ประเทศไทยมีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ซึ่งหมายถึงมีอากาศร้อนและมีความชื้นสูง แบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือฤดูหนาว ฤดูฝน และฤดูร้อน โดยที่ฤดูหนาวเริ่มตั้งเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนถึงเดือนพฤษภาคม และฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม ยกเว้นทางภาคใต้จะมีเพียงแค่ 2 ฤดูเท่านั้นคือฤดูร้อนและฤดูฝน (ฤดูหนาวของภาคอื่นจะกลายเป็นฤดูฝนเพิ่มเติมให้ภาคใต้นอกเหนือไปจากฤดูฝนตามปกติ)
ในฤดูหนาว ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจะมีอากาศที่หนาวเย็น บางครั้งอุณหภูมิยอดดอยลดลงต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส ในขณะที่ภาคอื่นจะมีอุณหภูมิสูงกว่า โดยเฉลี่ยช่วงหนาวสุดราว 15-25 องศาเซลเซียส ในขณะที่หน้าร้อนทั่วทุกภาคของประเทศจะมีอุณหภูมิช่วงสูงสุดอยู่ในช่วง 35-40 องศาเซลเซียส
โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้
ท่องเที่ยวไทยย
ลักษณะภูมิศาสตร์แยกตามภาค
ภาคเหนือ เป็นพื้นที่สูง มียอดเขาสูงสลับซับซ้อนมากมาย มีเทือกเขาสำคัญคือเทือกเขาถนนธงชัย ซึ่งยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือดอยอินทนนท์ (สูง 2,565 เมตรจากระดับน้ำทะเล) อยู่บนเทือกเขานี้ โดยตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเหนือยังเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญหลายสาย เช่น แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน (แม่น้ำทั้ง 4 สายนี้รวมกันเกิดเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา) แม่น้ำกก แม่น้ำรวก แม่น้ำสาย และแม่น้ำเมย เป็นต้น นอกจากนี้ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่ป่าไม้ที่สำคัญของไทยด้วย
แผนที่ภาคเหนือของไทย
ภูมิประเทศภาคเหนือเป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือที่คนไทยนิยมเรียกสั้นๆว่าภาคอีสาน มีลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่สูงหรือที่ราบสูง เรียกว่าที่ราบสูงโคราช มีภูเขาสูงอยู่ทั่วไป ภาคอีสานเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งที่สุดของไทย ดินไม่ค่อยเหมาะสมต่อการเพาะปลูกมากนัก แต่กลับเป็นพื้นที่สามารถปลูกข้าวพันธุ์ดีที่สุดของไทย (ข้าวหอมมะลิ) ได้ผลผลิตดีที่สุด แม่น้ำสายสำคัญของภาคอีสานคือแม่น้ำมูล แม่น้ำชี และแม่น้ำโขง
แผนที่ภาคอีสานของไทย
ภาคอีสานแหล่งปลูก…
ภาคเหนือ เป็นพื้นที่สูง มียอดเขาสูงสลับซับซ้อนมากมาย มีเทือกเขาสำคัญคือเทือกเขาถนนธงชัย ซึ่งยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือดอยอินทนนท์ (สูง 2,565 เมตรจากระดับน้ำทะเล) อยู่บนเทือกเขานี้ โดยตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเหนือยังเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญหลายสาย เช่น แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน (แม่น้ำทั้ง 4 สายนี้รวมกันเกิดเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา) แม่น้ำกก แม่น้ำรวก แม่น้ำสาย และแม่น้ำเมย เป็นต้น นอกจากนี้ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่ป่าไม้ที่สำคัญของไทยด้วย
แผนที่ภาคเหนือของไทย
ภูมิประเทศภาคเหนือเป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือที่คนไทยนิยมเรียกสั้นๆว่าภาคอีสาน มีลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่สูงหรือที่ราบสูง เรียกว่าที่ราบสูงโคราช มีภูเขาสูงอยู่ทั่วไป ภาคอีสานเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งที่สุดของไทย ดินไม่ค่อยเหมาะสมต่อการเพาะปลูกมากนัก แต่กลับเป็นพื้นที่สามารถปลูกข้าวพันธุ์ดีที่สุดของไทย (ข้าวหอมมะลิ) ได้ผลผลิตดีที่สุด แม่น้ำสายสำคัญของภาคอีสานคือแม่น้ำมูล แม่น้ำชี และแม่น้ำโขง
แผนที่ภาคอีสานของไทย
ภาคอีสานแหล่งปลูก…
ความคิดเห็น
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ความคิดเห็น